การถอดรหัส Convolution ด้วย Viterbi Algorithm
การถอดรหัส Convolution นั้นมีขั้นตอนที่ซับซ้อนกว่าวิธีการเข้ารหัสมาก ซึ่งการถอดรหัสมีหลายวิธีแต่การถอดรหัสด้วย Viterbi Algorithm นั้นเป็นวิธีที่ให้ประสิทธิภาพสูง ซึ่งลักษณะการทำงานของ Viterbi Algorithm เป็นแบบ Maximum Likelihood Decoding โดยผลลัพธ์ที่ได้จากการถอดรหัสจะเป็นเส้นทางเพียงเส้นทางเดียวที่มีความน่าจะเป็นสูงสุดจากเส้นทางทั้งหมดใน Trellis Diagram ซึ่งมีลักษณะเหมือนกับข้อมูลที่ถูกส่งมากที่สุด โดย Viterbi Algorithm นั้น มีขั้นตอนในการทำงานแบ่งเป็น 3 ขั้นตอน [3] ดังต่อไปนี้
ขั้นตอนที่ 1 Branch Metric Generation
ขั้นตอนนี้คำนวณหาค่า Branch Metric (BM) จากข้อมูลอินพุตที่รับเข้ามา r กับค่าเอาต์พุตของการเข้ารหัส C การคำนวณหาค่า Branch Metric ต้องคำนวณทุกๆ สาขาหรือ Branch โดย Branch เท่ากับ 2K การคำนวณหาค่า Branch Metric
โดย ค่า BM แทนค่า Branch Metric ระหว่าง State i ไปยัง State j ณ เวลา n
ค่า r แทนค่า ข้อมูลอินพุตที่รับเข้ามา ณ เวลา n
ค่า C แทนค่าเอาต์พุตของการเข้ารหัสระหว่าง State i ไปยัง State j ณ เวลา n
ขั้นตอนที่ 2 Survivor Path และ Path Metric Update
ขั้นตอนนี้คำนวณหาค่า Survivor Path และ Path Metric จากจำนวน State การทำงานทั้งหมดค่า Path Metric ที่เลือกไว้เพื่อใช้ในการหาค่า Path Metric ครั้งต่อไป (Update) ส่วนค่า Survivor Path เป็นค่าที่ใช้ในการตัดสินใจหาค่าเอาต์พุต โดยการคำนวณหาค่า Survivor Path และ Path Metric นั้นค่าของ Branch Metric และ Path Metric จะถูกเข้าด้วยกัน ซึ่งผลการบวกนั้นมีสองค่าที่เข้ามาในแต่ละจุดเชื่อมต่อ (Trellis Node) ของ Trellis Diagram โดยค่า Path Metric เป็นค่าที่เลือกจากค่าผลบวกที่น้อยกว่า ส่วนค่า Survivor Path เป็น State การทำงานที่น้อยกว่าจากการเลือก Path Metric
โดย ค่า PM แทน Path metric ระหว่าง State i ไปยัง State j ณ เวลา n
ค่า C แทนค่าเอาต์พุตของการเข้ารหัสระหว่าง State i ไปยัง State j ณ เวลา n
ขั้นตอนที่ 3 Optimum Paths Trace Back
ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนการตัดสินใจหาค่าเอาต์พุต โดยใช้ค่า Survivor Path ในแต่ละ State ที่บันทึกไว้มาตัดสินใจเลือกเส้นทางของข้อมูล โดยการตัดสินใจหาเส้นทางของข้อมูลจะเริ่มจาก Survivor Path ในอดีต (Trace Back) โดยในการเริ่มต้นที่เวลาผ่านไป L (Latency) โดยในทางปฏิบัติการ L ต้องมีค่ามากกว่าห้าเท่าของค่า K (Constrain Length) จึงทำให้การถอดรหัสได้ข้อมูลที่ถูกต้องสูง
รูปแบบการทำงานของการถอดรหัสด้วยวิธี Viterbi มีสองแบบ ได้แก่ Hard Decision และ Soft Decision ซึ่งอธิบายได้ดังนี้คือ การทำงานของวงจรถอดรหัสแบบ Hard Decision นั้น ข้อมูลอินพุตที่รับจากส่วนของมอดูเลชั่นที่ถูกจัดระดับเป็นสองระดับคือ “0” และ “1” ต่ออินพุตหนึ่งบิต ส่วนของการทำงานของวงจรถอดรหัสแบบ Soft Decision นั้น ข้อมูลอินพุตที่รับจากส่วนของมอดูเลชันที่ถูกจัดระดับมากกว่าสองระดับต่ออินพุตหนึ่งบิต เช่น 4 ระดับ (2 บิต) หรือ 8 ระดับ (3 บิต) เป็นต้น การทำงานแบบ Soft Decision จะมีความซับซ้อนมากกว่าแบบ Hard Decision แต่ให้ค่า Coding Gain ที่มากกว่า โดยการทำงานแบบ Hard Decision นั้นใช้สำหรับช่องสัญญาณแบบ Binary Symmetric หรือ Discrete Memoryless Channel ส่วนทำงานแบบ Soft Decision นั้นเหมะสมกับช่องสัญญาณแบบ AWGN (Additive White Gaussian Noise) ซึ่งการทำงานแบบ Soft Decision นั้นให้ค่า Coding Gain ที่มากกว่าแบบ Hard Decision ประมาณ 2 dB [4]
วันพุธที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2552
การเข้ารหัส
สำนักบริการคอมพิวเตอร์
การเข้ารหัสข้อมูลมีจุดประสงค์เพื่อรักษาความลับของข้อมูล ข้อมูลนั้นจะถูกเปิดอ่านโดยบุคคลที่ได้รับอนุญาตเท่านั้น หลักการของการเข้ารหัสข้อมูลคือแปลงข้อมูล (encrypt) ไปอยู่ในรูปของข้อมูลที่ไม่สามารถอ่านได้โดยตรง ข้อมูลจะถูกถอดกลับด้วยกระบวนการถอดรหัส (decryption)
1 การเข้ารหัสข้อมูล
ข้อมูลที่สามารถอ่านได้ เรียกว่า plain text หรือ clear text ข้อมูลที่เข้ารหัสแล้วเราเรียกว่า cipher text ข้อมูลเมื่อเสร็จสิ้นการเข้ารหัสแล้ว ผลที่ได้ก็คือ cipher text ในการอ่านข้อความ cipher text นั้น การเข้ารหัสแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆคือ
1. Symmetric Cryptography (Secret key)
หรือบางทีอาจเรียกว่า Single-key algorithm หรือ one-key algorithm คือ การเข้ารหัสและถอดรหัสโดยใช้กุญแจรหัสตัวเดียวกัน คือ ผู้ส่งและผู้รับจะต้องมีกุญแจรหัสที่เหมือนกันเพื่อใช้ในการเข้ารหัสและถอดรหัส
2. Asymmetric Cryptography (Public key)
การเข้ารหัสและถอดรหัสโดยใช้กุญแจรหัสคนละตัวกัน การส่งจะมีกุญแจรหัสตัวหนึ่งในการเข้ารหัส และผู้รับก็จะมีกุญแจรหัสอีกตัวหนึ่งเพื่อใช้ในการถอดรหัส ผู้ใช้รายหนึ่งๆจึงมีกุญแจรหัส 2 ค่าเสมอคือ กุญแจสาธารณะ (public key) และ กุญแจส่วนตัว (private key) ผู้ใช้จะประกาศให้ผู้อื่นทราบถึงกุญแจสาธารณะของตนเองเพื่อให้นำไปใช้ในการเข้ารหัสและส่งข้อมูลที่เข้ารหัสแล้วมาให้ ข้อมูลที่เข้ารหัสดังกล่าวจะถูกถอดออกได้โดยกุญแจส่วนตัวเท่านั้น
ในทางปฏิบัติแล้วมักมีการใช้การเข้ารัหสทั้งสองระบบร่วมกันเช่นในระบบ PGP (Pretty Good Privacy) ซึ่งใช้ในการเข้ารหัส E-mail จะใช้วิธีสร้าง session key ซึ่งเป็นรหัสลับตามแบบ secret key) เมื่อข้อมูลถูกเข้ารหัสด้วย session key แล้ว จากนั้น session key จะถูกเข้ารหัสโดยใช้กุญแจสาธารณะของผู้รับ และถูกส่งไปกับข้อมูลที่เข้ารหัสแล้ว การถอดรหัสนั้นทำในทางตรงกันข้าม ผู้รับจะใช้กูญแจส่วนตัวในการได้คืนมาของ session key ซึ่งหลังจากนั้นจึงนำ session key มาถอดรหัสข้อมูลอีกขั้นหนึ่ง
การรวมกันของวิธีการเข้ารหัสสองวิธีเป็นการรวมความสะดวกของการเข้ารหัสแบบสาธารณะกับความเร็วในการเข้ารหัสแบบทั่วไป เนื่องจากการเข้ารหัสแบบทั่วไปเร็วกว่าการเข้ารหัสแบบสาธารณะประมาณ 1000 เท่า แต่การเข้ารหัสแบบสาธารณะมีข้อดีในเรื่องวิธีแจกจ่ายรหัส ดังนั้นจึงนิยมใช้การเข้ารกัสข้อมูลซึ่งมีขนาดใหญ่ด้วยวิธีการเข้ารหัสแบบทั่วไป และใช้ของการเข้ารหัสแบบสาธารณะสำหรับการส่งกุญแจของการเข้ารหัสแบบทั่วไป
การเข้ารหัสข้อมูลมีจุดประสงค์เพื่อรักษาความลับของข้อมูล ข้อมูลนั้นจะถูกเปิดอ่านโดยบุคคลที่ได้รับอนุญาตเท่านั้น หลักการของการเข้ารหัสข้อมูลคือแปลงข้อมูล (encrypt) ไปอยู่ในรูปของข้อมูลที่ไม่สามารถอ่านได้โดยตรง ข้อมูลจะถูกถอดกลับด้วยกระบวนการถอดรหัส (decryption)
1 การเข้ารหัสข้อมูล
ข้อมูลที่สามารถอ่านได้ เรียกว่า plain text หรือ clear text ข้อมูลที่เข้ารหัสแล้วเราเรียกว่า cipher text ข้อมูลเมื่อเสร็จสิ้นการเข้ารหัสแล้ว ผลที่ได้ก็คือ cipher text ในการอ่านข้อความ cipher text นั้น การเข้ารหัสแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆคือ
1. Symmetric Cryptography (Secret key)
หรือบางทีอาจเรียกว่า Single-key algorithm หรือ one-key algorithm คือ การเข้ารหัสและถอดรหัสโดยใช้กุญแจรหัสตัวเดียวกัน คือ ผู้ส่งและผู้รับจะต้องมีกุญแจรหัสที่เหมือนกันเพื่อใช้ในการเข้ารหัสและถอดรหัส
2. Asymmetric Cryptography (Public key)
การเข้ารหัสและถอดรหัสโดยใช้กุญแจรหัสคนละตัวกัน การส่งจะมีกุญแจรหัสตัวหนึ่งในการเข้ารหัส และผู้รับก็จะมีกุญแจรหัสอีกตัวหนึ่งเพื่อใช้ในการถอดรหัส ผู้ใช้รายหนึ่งๆจึงมีกุญแจรหัส 2 ค่าเสมอคือ กุญแจสาธารณะ (public key) และ กุญแจส่วนตัว (private key) ผู้ใช้จะประกาศให้ผู้อื่นทราบถึงกุญแจสาธารณะของตนเองเพื่อให้นำไปใช้ในการเข้ารหัสและส่งข้อมูลที่เข้ารหัสแล้วมาให้ ข้อมูลที่เข้ารหัสดังกล่าวจะถูกถอดออกได้โดยกุญแจส่วนตัวเท่านั้น
ในทางปฏิบัติแล้วมักมีการใช้การเข้ารัหสทั้งสองระบบร่วมกันเช่นในระบบ PGP (Pretty Good Privacy) ซึ่งใช้ในการเข้ารหัส E-mail จะใช้วิธีสร้าง session key ซึ่งเป็นรหัสลับตามแบบ secret key) เมื่อข้อมูลถูกเข้ารหัสด้วย session key แล้ว จากนั้น session key จะถูกเข้ารหัสโดยใช้กุญแจสาธารณะของผู้รับ และถูกส่งไปกับข้อมูลที่เข้ารหัสแล้ว การถอดรหัสนั้นทำในทางตรงกันข้าม ผู้รับจะใช้กูญแจส่วนตัวในการได้คืนมาของ session key ซึ่งหลังจากนั้นจึงนำ session key มาถอดรหัสข้อมูลอีกขั้นหนึ่ง
การรวมกันของวิธีการเข้ารหัสสองวิธีเป็นการรวมความสะดวกของการเข้ารหัสแบบสาธารณะกับความเร็วในการเข้ารหัสแบบทั่วไป เนื่องจากการเข้ารหัสแบบทั่วไปเร็วกว่าการเข้ารหัสแบบสาธารณะประมาณ 1000 เท่า แต่การเข้ารหัสแบบสาธารณะมีข้อดีในเรื่องวิธีแจกจ่ายรหัส ดังนั้นจึงนิยมใช้การเข้ารกัสข้อมูลซึ่งมีขนาดใหญ่ด้วยวิธีการเข้ารหัสแบบทั่วไป และใช้ของการเข้ารหัสแบบสาธารณะสำหรับการส่งกุญแจของการเข้ารหัสแบบทั่วไป
Security (ระบบรักษาความปลอดภัย)
BitDefender Internet Security (ครบเครื่อง เรื่องการป้องกัน การบุกรุกผ่านเน็ต) : สำหรับเจ้าตัว BitDefender Internet Security เป็นซอฟแวร์จากผู้พลิตชาวยุโรปที่รวบรวมเอาสุดยอดระบบรักษาความปลอดภัยซึ่งสามารถป้องกันได้ทั้ง ไวรัส สแปม สปายแวร์ รวมทั้ง ผู้ไม่ประสงค์ดีที่จะเข้ามาโจรกรรมข้อมูล (Phishing Attempt, Intruders) และ Objectionable Web Content ...
ทำไมต้องเป็น BitDefender Internet Security ? : โปรแกรมนี้ เป็นโปรแกรมที่เหมาะสำหรับ นักเล่นเน็ตตัวยง เนื่องจากอินเตอร์เน็ตในปัจจุบัน มีทั้งด้านดีและด้านเสีย ซึ่งในด้านเสียนั้นมีทั้งผู้บุกรุกมากมายที่อาจจะมาที่เครื่องของท่านโดยที่ท่านไม่ได้ต้อนรับหรือยินดีให้มาเท่าไหร่นัก อาทิเช่น ไวรัสต่างๆ , โฆษณา จำพวกเกี่ยวกับเซ้กส์ คาสิโน , E-Mail ขายโฆษณา , สปายแวร์ ฯลฯ อีกมากมาย โปรแกรมนี้ก็เป็นตัวที่ถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อการป้องกันในด้านนี้โดยเฉพาะ เรียกได้ว่าตรงสาย และกลุ่มเป้าหมายสำหรับผู้ที่ชอบเล่นเน็ตเป็นอย่างมากครับ และยิ่ง ถ้าเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องที่ต่ออินเตอร์เน็ตนั้น มีผู้ใช้ (User) มากกว่า 1 คนขึ้นไปละก็ ยิ่งลำบากต่อการป้องกันครับ โปรแกรมนี้ มีส่วนประกอบหลักๆ ทั้งหมด 4 ส่วนด้วยกัน มาดูกันเลยครับว่าแต่ละส่วนมีอะไร และรายละเอียดเป็นอย่างไรกันบ้างครับผม ... .. .
ANTIVIRUS & ANTISPYWARE ปกป้องเครื่องคอมพิวเตอร์ของคุณในเวลาจริงจากไวรัสที่รู้จัก Spyware และ Malware อื่นๆ พร้อมกับการอัพเดททุกชั่วโมง บล็อกไวรัสที่ไม่รู้จัก ใช้เทคนิคการสืบหาระดับสูง (Proactive Detection) สังเกตและป้องกันการคุกคาม Spyware แบบทันทีทันใด (Real-Time) ตรวจจับและย้ายมัลแวร์พันธุ์ใหม่ที่สุดของการคุกคามที่ซ่อนเร้นที่รู้ว่าเป็น Rootkits มีฟังก์ชันเพื่อการเล่นเกมส์แบบราบรื่นอย่างผู้มีประสบการณ์โดยไม่ทำให้ระบบทำงานช้า (No System Load)
ANTI-PHISHING ต่อต้านป้องกันการโจมตี Phishing โดยการกรองหน้าเว็บที่เข้ามาทั้งหมดสำหรับผู้ที่จะเข้ามาหลอก หรือ พยายามโกง รวมไปถึงการ ลดการเสี่ยงของการขโมยข้อมูลส่วนตัว ที่รั่วไหลผ่านทาง E-Mail หรือเว็บ
FIREWALL จะควบคุมแอพพริเคชั่นในการเข้าสู่อินเตอร์เน็ตขณะที่ "ซ่อนเร้น" คอมพิวเตอร์ของคุณจากแฮกเกอร์ และยัง ช่วยป้องกัน ในส่วนที่ไม่ได้รับอนุญาต เข้าสู่เครือข่าย Wi-Fi โดยแจ้งให้คุณทราบเมื่อ Login คอมพิวเตอร์เข้าในเครือข่าย
ANTISPAM ป้องกัน Spam และ Scan E-Mail ชนิดต่าง ๆ จากการเข้าสู่ Inbox ของคุณ และการตอบสนองที่เร็วกว่าในเทคนิคใหม่ในการกรอง Spamming ด้วย การปรับปรุง Engines ใหม่
PARENTAL CONTROL บล็อกเว็บไซด์และ E-Mail ที่ไม่เหมาะสม และนอกจากนี้แล้วยัง สามารถตั้งค่าให้ อนุญาตหรือบล็อก การเข้าเว็บระหว่างช่วงเวลาที่ระบุได้
ทำไมต้องเป็น BitDefender Internet Security ? : โปรแกรมนี้ เป็นโปรแกรมที่เหมาะสำหรับ นักเล่นเน็ตตัวยง เนื่องจากอินเตอร์เน็ตในปัจจุบัน มีทั้งด้านดีและด้านเสีย ซึ่งในด้านเสียนั้นมีทั้งผู้บุกรุกมากมายที่อาจจะมาที่เครื่องของท่านโดยที่ท่านไม่ได้ต้อนรับหรือยินดีให้มาเท่าไหร่นัก อาทิเช่น ไวรัสต่างๆ , โฆษณา จำพวกเกี่ยวกับเซ้กส์ คาสิโน , E-Mail ขายโฆษณา , สปายแวร์ ฯลฯ อีกมากมาย โปรแกรมนี้ก็เป็นตัวที่ถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อการป้องกันในด้านนี้โดยเฉพาะ เรียกได้ว่าตรงสาย และกลุ่มเป้าหมายสำหรับผู้ที่ชอบเล่นเน็ตเป็นอย่างมากครับ และยิ่ง ถ้าเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องที่ต่ออินเตอร์เน็ตนั้น มีผู้ใช้ (User) มากกว่า 1 คนขึ้นไปละก็ ยิ่งลำบากต่อการป้องกันครับ โปรแกรมนี้ มีส่วนประกอบหลักๆ ทั้งหมด 4 ส่วนด้วยกัน มาดูกันเลยครับว่าแต่ละส่วนมีอะไร และรายละเอียดเป็นอย่างไรกันบ้างครับผม ... .. .
ANTIVIRUS & ANTISPYWARE ปกป้องเครื่องคอมพิวเตอร์ของคุณในเวลาจริงจากไวรัสที่รู้จัก Spyware และ Malware อื่นๆ พร้อมกับการอัพเดททุกชั่วโมง บล็อกไวรัสที่ไม่รู้จัก ใช้เทคนิคการสืบหาระดับสูง (Proactive Detection) สังเกตและป้องกันการคุกคาม Spyware แบบทันทีทันใด (Real-Time) ตรวจจับและย้ายมัลแวร์พันธุ์ใหม่ที่สุดของการคุกคามที่ซ่อนเร้นที่รู้ว่าเป็น Rootkits มีฟังก์ชันเพื่อการเล่นเกมส์แบบราบรื่นอย่างผู้มีประสบการณ์โดยไม่ทำให้ระบบทำงานช้า (No System Load)
ANTI-PHISHING ต่อต้านป้องกันการโจมตี Phishing โดยการกรองหน้าเว็บที่เข้ามาทั้งหมดสำหรับผู้ที่จะเข้ามาหลอก หรือ พยายามโกง รวมไปถึงการ ลดการเสี่ยงของการขโมยข้อมูลส่วนตัว ที่รั่วไหลผ่านทาง E-Mail หรือเว็บ
FIREWALL จะควบคุมแอพพริเคชั่นในการเข้าสู่อินเตอร์เน็ตขณะที่ "ซ่อนเร้น" คอมพิวเตอร์ของคุณจากแฮกเกอร์ และยัง ช่วยป้องกัน ในส่วนที่ไม่ได้รับอนุญาต เข้าสู่เครือข่าย Wi-Fi โดยแจ้งให้คุณทราบเมื่อ Login คอมพิวเตอร์เข้าในเครือข่าย
ANTISPAM ป้องกัน Spam และ Scan E-Mail ชนิดต่าง ๆ จากการเข้าสู่ Inbox ของคุณ และการตอบสนองที่เร็วกว่าในเทคนิคใหม่ในการกรอง Spamming ด้วย การปรับปรุง Engines ใหม่
PARENTAL CONTROL บล็อกเว็บไซด์และ E-Mail ที่ไม่เหมาะสม และนอกจากนี้แล้วยัง สามารถตั้งค่าให้ อนุญาตหรือบล็อก การเข้าเว็บระหว่างช่วงเวลาที่ระบุได้
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)